ผมมีวิธีคิดง่ายๆให้คุณลองทำดูนะครับ
ก่อนอื่นให้นึกถึงรูปหน้าของเข็มทิศไว้นะครับ/เทียบกับนาฬิกาที่คุณต้องการเปรียบ/ทิศเหนือ=12 น.เทียบเท่า 0 องศา / ทิศตะวันออก=3 น. เทียบเท่า 90 องศา / ทิศใต้=6 น. เทียบเท่า 180 องศา / ทิศตะวันตก=9 น. เทียบเท่า 270 องศา
ทีนี้เวลาเราใช้เข็มทิศตั้งหน้าจาน เราเอา 0 องศาเป็นหลักแล้วหันหน้าจานไปหาตำแหน่งที่เราทราบของดาวดวงนั้นๆ เช่น ดาวไทยคมอยู่ที่ 240 องศา เราก็หมุนหน้าจานมาอยู่ที่ประมาณเกือบๆ 8 น.(ไม่เต็มดี เพราะตรงที่ 7.30 น.จะเท่ากับ 225 องศา)
ส่วนดาวที่คุณถาม เมื่อเราทราบ 1 ตำแหน่ง ถ้าเราหันหน้าเราเองเข้าหาหน้าจานเวลาหมุนตามทิศข้างบนที่กล่าวมาเราก็ต้องหมุนตามเข็มนาฬิกา แต่เมื่อดาวที่เราต้องการเพิ่มมีพิกัดตำแหน่งลอยค้างฟ้าที่มากกว่าดวงที่เราทราบก็แสดงว่าตำแหน่งหันหน้าจาน(มุมส่าย)ก็ต้องมีน้อยกว่า เราก็ต้องหมุนจานกลับแบบทวนเข็มนาฬิกาไปที่ 3 น.กว่าๆ (ที่กทม.Vinasat มุมส่าย=111.4/มุมก้ม=39.
ครับ โชคดี